• |
  • |
  • |

Main Menu | | Book Detail

  ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย 
 

หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นเพื่อเป็นตำราประกอบการสอนวิชา ป. ๓๑๒ ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย ตามหลักสูตรสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นการบรรยายประวัติการศึกษาโบราณวัตถุสถานที่สร้างขึ้นในอดีตและปัจจุบันของประเทศไทยตามแนวทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และประวัติศาสตร์ศิลปะ โดยแสดงให้เห็นความสัมพันธ์และความแตกต่างของแต่ละวิชา ตลอดจนเสนอแนะหลักวิธีการค้นคว้าในระบบวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะอย่างละเอียด พร้อมทั้งเปรียบเทียบการตีความและกำหนดอายุเวลาของโบราณวัตถุระหว่างโลกทัศน์ไทยดั้งเดิมกับโลกทัศน์ตะวันตก จากนั้นจึงรวบรวมความรู้ที่ได้ค้นคว้าใหม่เกี่ยวกับสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยมาเป็นตัวอย่างของความรู้ที่ได้รับจากการค้นคว้าทางโบราณคดี สำหรับในบทของสมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์ ผู้เขียนได้นำความรู้จากการค้นคว้าล่าสุดในเวลานั้นเกี่ยวกับโบราณวัตถุมาเป็นตัวอย่างของความรู้ที่เกิดขึ้นจากการค้นคว้าตามแนวทางประวัติศาสตร์ศิลปะ เพื่อให้ได้ตระหนักถึงความรู้เกี่ยวกับอดีตของประเทศไทยในยุคสมัยที่ยังไม่มีเอกสารลายลักษณ์อักษร นับเป็นผลงานการค้นคว้าทางวิชาโบราณคดีและประวัติศาสตร์ศิลปะที่สามารถนำระบบวิธีการวิจัยมาใช้ค้นคว้าหาความรู้เองได้ต่อไป

Call No. : N7321 พ665 2533
Author : -
Publisher : -
Published : 2018
Category : Virtual Thai Book
Page : [16], 316 หน้า : ภาพประกอบ, แผนที่ ; 21 ซม
Language : -
Link : -

No.
Barcode
Status
Location
1
000010008052
On shelf
Rating
MARC Information
000 
01760cam##2200205ua#4500 
001 
b00005484 
003 
NDMI 
005 
20190215021530.6 
008 
180123b th ## #000 0#tha## 
245 
ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย 
245 
ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย / พิริยะ ไกรฤกษ์ 
260 
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ, 2533 
300 
[16], 316 หน้า : ภาพประกอบ, แผนที่ ; 21 ซม 
500 
หนังสือประกอบการบรรยาย ป312 ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย 
520 
หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นเพื่อเป็นตำราประกอบการสอนวิชา ป. ๓๑๒ ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย ตามหลักสูตรสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นการบรรยายประวัติการศึกษาโบราณวัตถุสถานที่สร้างขึ้นในอดีตและปัจจุบันของประเทศไทยตามแนวทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และประวัติศาสตร์ศิลปะ โดยแสดงให้เห็นความสัมพันธ์และความแตกต่างของแต่ละวิชา ตลอดจนเสนอแนะหลักวิธีการค้นคว้าในระบบวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะอย่างละเอียด พร้อมทั้งเปรียบเทียบการตีความและกำหนดอายุเวลาของโบราณวัตถุระหว่างโลกทัศน์ไทยดั้งเดิมกับโลกทัศน์ตะวันตก จากนั้นจึงรวบรวมความรู้ที่ได้ค้นคว้าใหม่เกี่ยวกับสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยมาเป็นตัวอย่างของความรู้ที่ได้รับจากการค้นคว้าทางโบราณคดี สำหรับในบทของสมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์ ผู้เขียนได้นำความรู้จากการค้นคว้าล่าสุดในเวลานั้นเกี่ยวกับโบราณวัตถุมาเป็นตัวอย่างของความรู้ที่เกิดขึ้นจากการค้นคว้าตามแนวทางประวัติศาสตร์ศิลปะ เพื่อให้ได้ตระหนักถึงความรู้เกี่ยวกับอดีตของประเทศไทยในยุคสมัยที่ยังไม่มีเอกสารลายลักษณ์อักษร นับเป็นผลงานการค้นคว้าทางวิชาโบราณคดีและประวัติศาสตร์ศิลปะที่สามารถนำระบบวิธีการวิจัยมาใช้ค้นคว้าหาความรู้เองได้ต่อไป 
No Reviews
There are no reviews yet, why not be the first.

Please Login before write a review.

This website uses cookies

We use cookies to optimize performance. and good experience in using the website If you continue to use this website By accepting the terms and conditions and privacy policy