• |
  • |
  • |

Main Menu | | Book Detail

  อาเซียนกับการย้ายถิ่นแบบไม่ปกติของชาวโรฮิงญา = ASEAN and the Irregular migration of Rohingya / อนุสรณ์ ชัยอักษรเวชและณัฐณพัศ พิพัฒน์รัตนเสรี 

การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติของชาวโรฮิงญา จำนวนเกือบล้านคนที่หนีภัยความรุนแรงจากเมียนมา เข้าไปในบังกลาเทศและพยายามล่องเรือหนีออกมาข้างอ่าวเบงกอล และทะเลอันดามันหลายหมื่นคงตั้งแต่ปี 2012 เข้ามาในประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย กลายเป็นโจทย์ที่ท้าทายต่อการพัฒนา ประชาคมอาเซียนให้มีประชาชนเป็นศูนย์กลางและอยู่ในจังหวะที่ปี 2019 นี้ ไทยกลับมาทำหน้าที่ประธานอาเซียนอีกครั้ง การจัดการปัญหาต้องเริ่มต้นด้วยความช่วยเหลือเพื่อมนุษยธรรม จากอาเซียนที่เป็นภาพและประสานงานกันให้เข้าถึงพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่เพื่อลดเงื่อนไขความขัดแย้งและเป็นประโยชน์กับทุกชุมชนทั้งชาวพุทธยะไข่และชาวโรฮิงญา ในขณะเดียวกันต้องพัฒนา “แนวทางร่วม” ของอาเซียน ที่มุ่งเน้น “การแบ่งเบาเบาภาระ” และมี “ความรับผิดชอบร่วมกัน” โดยให้มีมาตรฐานไม่ต่ำกว่าระดับสากลในกรอบของสหประชาชาติ เพื่อแสดงให้เห็นถึงการเป็น “ประชาคมอาเซียนที่มีบทบาทในประชาคมโลก”...(จากปกหลัง)

Call No. : DS528.2.M9 อ37 2562
Author : อนุสรณ์ ชัยอักษรเวช
Publisher : -
Published : 2020
Category : -
Page : ก-ณ, 337 หน้า : ตาราง
Language : -
Link : -

No.
Barcode
Status
Location
1
000010008817
On shelf
Rating
MARC Information
000 
00963cam##2200253ua#4500 
001 
b00004351 
003 
NDMI 
005 
20200518042344.3 
008 
200518b th ## #000 0#tha## 
245 
อาเซียนกับการย้ายถิ่นแบบไม่ปกติของชาวโรฮิงญา = ASEAN and the Irregular migration of Rohingya / อนุสรณ์ ชัยอักษรเวชและณัฐณพัศ พิพัฒน์รัตนเสรี 
260 
กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2562 
300 
ก-ณ, 337 หน้า : ตาราง 
520 
การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติของชาวโรฮิงญา จำนวนเกือบล้านคนที่หนีภัยความรุนแรงจากเมียนมา เข้าไปในบังกลาเทศและพยายามล่องเรือหนีออกมาข้างอ่าวเบงกอล และทะเลอันดามันหลายหมื่นคงตั้งแต่ปี 2012 เข้ามาในประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย กลายเป็นโจทย์ที่ท้าทายต่อการพัฒนา ประชาคมอาเซียนให้มีประชาชนเป็นศูนย์กลางและอยู่ในจังหวะที่ปี 2019 นี้ ไทยกลับมาทำหน้าที่ประธานอาเซียนอีกครั้ง การจัดการปัญหาต้องเริ่มต้นด้วยความช่วยเหลือเพื่อมนุษยธรรม จากอาเซียนที่เป็นภาพและประสานงานกันให้เข้าถึงพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่เพื่อลดเงื่อนไขความขัดแย้งและเป็นประโยชน์กับทุกชุมชนทั้งชาวพุทธยะไข่และชาวโรฮิงญา ในขณะเดียวกันต้องพัฒนา “แนวทางร่วม” ของอาเซียน ที่มุ่งเน้น “การแบ่งเบาเบาภาระ” และมี “ความรับผิดชอบร่วมกัน” โดยให้มีมาตรฐานไม่ต่ำกว่าระดับสากลในกรอบของสหประชาชาติ เพื่อแสดงให้เห็นถึงการเป็น “ประชาคมอาเซียนที่มีบทบาทในประชาคมโลก”...(จากปกหลัง) 
651 
กลุ่มประเทศอาเซียน 
710 
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 
No Reviews
There are no reviews yet, why not be the first.

Please Login before write a review.

This website uses cookies

We use cookies to optimize performance. and good experience in using the website If you continue to use this website By accepting the terms and conditions and privacy policy