• |
  • |
  • |

Main Menu | | Book Detail

  ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท : สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท-ลาวและความเป็นไท/ไต/ไทย/สยาม / ชลธิรา สัตยาวัฒนา ; ทองแถมนาถจำนง, บรรณาธิการ 

หากความตื่นใจทางวิชาการในงานของ “จิตร ภูมิศักดิ์” เรื่อง “ความเป็นมาของคำสยาม ไทย ลาวและขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ” เมื่อกึ่งศตวรรษก่อนยังคงฝังรากฝังรอยอยู่ วันนี้ อาจารย์ชลธิรา สัตยาวัฒนา ได้ต่อรากนั้นให้หงอกออกไปในชื่อ “สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท-ลาว และความเป็นไท/ไต/ไทย/สยาม” ถ้านักสืบสมัยใหม่ไม่เคยละเลยแม้แต่ละอองไอจากรอยนิ้วมือ นักโบราณคดีไม่เคยเลยที่จะละเลยเศษภาชนะแตก นักดนตรีย่อมไม่ฟังข้ามเสียงเบี้ยวแม้แต่เสี้ยวโน้ต วิธีวิทยาแบบ Generative Anthropology ก็ไม่ยอมละเลยทุกอย่างที่เป็นผลมาจากการดำรงอยู่ของมนุษยชาติ โดยไม่มองว่าสิ่งใดที่ฝังอยู่ในจิตใต้สำนึกเป็นเรื่องไร้ค่าในทางวิชาการ งานศึกษานี้ได้สาธิตให้เห็นถึงความใส่ใจกับถ้อยคำเล็กๆ แม้แต่เสียงของคำที่เลื่อนไป สาธิตให้เห็นถึงความใส่ใจกับรูปรอยเล็กๆ แม้จะเลือนราง สาธิตให้เห็นถึงความใส่ใจกับท่าทีและเสี้ยวอารมณ์แม้จะวูบผ่าน จนทำให้เห็นเป็นระเบียบวิธีอีกทางหนึ่งในนาม Generative Anthropology และได้ผลการศึกษาที่ส่งเสียงบอกเล่าให้รู้เช่นเห็นชาติถึงความเป็นคนไท/ไต/ไทย/สยาม ที่สืบทอดผ่านพื้นที่และเวลามาได้อย่างน่าพิศวง...(จากปกหลัง)

Call No. : DS523.4.ต9 ช43 2561
Author : ชลธิรา สัตยาวัฒนา
Publisher : -
Published : 2020
Category : -
Page : -
Language : -
Link : -

No.
Barcode
Status
Location
1
000010008845
On shelf
Rating
MARC Information
000 
00864cam##2200265ua#4500 
001 
b00004371 
003 
NDMI 
005 
20200723031917.0 
008 
200723b th ## #000 0#tha## 
245 
ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท : สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท-ลาวและความเป็นไท/ไต/ไทย/สยาม / ชลธิรา สัตยาวัฒนา ; ทองแถมนาถจำนง, บรรณาธิการ 
260 
กรุงเทพฯ : ทางอีศาน, 2561 
520 
หากความตื่นใจทางวิชาการในงานของ “จิตร ภูมิศักดิ์” เรื่อง “ความเป็นมาของคำสยาม ไทย ลาวและขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ” เมื่อกึ่งศตวรรษก่อนยังคงฝังรากฝังรอยอยู่ วันนี้ อาจารย์ชลธิรา สัตยาวัฒนา ได้ต่อรากนั้นให้หงอกออกไปในชื่อ “สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท-ลาว และความเป็นไท/ไต/ไทย/สยาม” ถ้านักสืบสมัยใหม่ไม่เคยละเลยแม้แต่ละอองไอจากรอยนิ้วมือ นักโบราณคดีไม่เคยเลยที่จะละเลยเศษภาชนะแตก นักดนตรีย่อมไม่ฟังข้ามเสียงเบี้ยวแม้แต่เสี้ยวโน้ต วิธีวิทยาแบบ Generative Anthropology ก็ไม่ยอมละเลยทุกอย่างที่เป็นผลมาจากการดำรงอยู่ของมนุษยชาติ โดยไม่มองว่าสิ่งใดที่ฝังอยู่ในจิตใต้สำนึกเป็นเรื่องไร้ค่าในทางวิชาการ งานศึกษานี้ได้สาธิตให้เห็นถึงความใส่ใจกับถ้อยคำเล็กๆ แม้แต่เสียงของคำที่เลื่อนไป สาธิตให้เห็นถึงความใส่ใจกับรูปรอยเล็กๆ แม้จะเลือนราง สาธิตให้เห็นถึงความใส่ใจกับท่าทีและเสี้ยวอารมณ์แม้จะวูบผ่าน จนทำให้เห็นเป็นระเบียบวิธีอีกทางหนึ่งในนาม Generative Anthropology และได้ผลการศึกษาที่ส่งเสียงบอกเล่าให้รู้เช่นเห็นชาติถึงความเป็นคนไท/ไต/ไทย/สยาม ที่สืบทอดผ่านพื้นที่และเวลามาได้อย่างน่าพิศวง...(จากปกหลัง) 
650 
650 
651 
ไทย -- ประวัติศาสตร์ 
No Reviews
There are no reviews yet, why not be the first.

Please Login before write a review.

This website uses cookies

We use cookies to optimize performance. and good experience in using the website If you continue to use this website By accepting the terms and conditions and privacy policy