• |
  • |
  • |

Main Menu | | Book Detail

  พระนั่งเกล้าฯ ไม่โปรดการละคร แต่เป็นยุคทองของวรรณคดี /ธนโชติ เกียรติณภัทร. 

พระนั่งเกล้าฯ ไม่โปรดการละคร แต่เป็นยุคทองของวรรณคดี เป็นหนังสือที่รวบรวมบทความเกี่ยวกับงานวรรณคดีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) โดยแสดงให้เห็นว่านี่เป็นอีก “ยุคทอง” ของวรรณคดี อีกทั้งวรรณคดียังสะท้อนให้เห็นถึงบรรยากาศและเหตุการณ์บ้านเมืองในสมัยนั้น รวมถึงบรรยากาศของกรุงเทพฯ โดยเฉพาะย่านท่าช้างซึ่งเป็นย่านที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ ย่านเสาชิงช้า และชุมชนแขกเลี้ยงวัว อีกทั้งยังมีเนื้อหาที่ว่าด้วยการตีพิมพ์พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ที่กว่าจะได้ตีพิมพ์ครั้งแรกก็ต้องรอถึง พ.ศ. 2477 โดยความล่าช้าในการตีพิมพ์นั้น นอกจากจะเป็นเพราะความขัดข้องด้านเนื้อหาแล้ว ยังเกี่ยวของกับประเด็นทางการเมืองของชนชั้นนำอีกด้วย.

Call No. : PL4200 .ธ325 2568
Author : a ธนโชติ เกียรติณภัทร.
Publisher : -
Published : 2025
Category : -
Page : 295 หน้า : ภาพประกอบ.
Language : tha
Link : -

No.
Barcode
Status
Location
1
000010010092
On shelf
Rating
MARC Information
000 
01865naa##2200241ua#4500 
001 
b00006984 
003 
NDMI 
005 
20250430030432.4 
008 
250430b th ## #000 0#tha## 
020 
9740219279 
041 
tha 
066 
Thai 
245 
พระนั่งเกล้าฯ ไม่โปรดการละคร แต่เป็นยุคทองของวรรณคดี / ธนโชติ เกียรติณภัทร. 
250 
พิมพ์ครั้งแรก. 6 880-03. 
260 
880-04 กรุงเทพฯ : มติชน, 2568 [2025]. 
300 
295 หน้า : ภาพประกอบ. 
500 
ฉบับพิเศษของวารสารชื่อ ศิลปวัฒนธรรม. 
505 
a พระราชปณิธานพระนั่งเกล้าฯ จากเพลงยาวพระราชปรารภ -- พุทธบูชาแห่งพระเจ้าแผ่นดิน และความสัมพันธ์ระหว่างหนังใหญ่กับศิลปกรรม “รามเกียรติ์วัดโพธิ์” -- ศึกเวียงจันทน์ในวรรณคดี มุมมองจากกวีร่วมยุคสมัย -- “ท่าช้างหว่างค่ายล้อม แหล่งสถาน” ย้อนตำนานย่านเก่าครั้งต้นกรุง -- ตามรอยระเด่นลันได ย้อนดูพระนครสมัยพระนั่งเกล้าฯ -- มองกรุงรัตนโกสินทร์ผ่านฉากเมืองสุโขทัย: พินิจในเรื่องนางนพมาศ -- เบื้องหลังการเผยแพร่พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3. 
520 
พระนั่งเกล้าฯ ไม่โปรดการละคร แต่เป็นยุคทองของวรรณคดี เป็นหนังสือที่รวบรวมบทความเกี่ยวกับงานวรรณคดีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) โดยแสดงให้เห็นว่านี่เป็นอีก “ยุคทอง” ของวรรณคดี อีกทั้งวรรณคดียังสะท้อนให้เห็นถึงบรรยากาศและเหตุการณ์บ้านเมืองในสมัยนั้น รวมถึงบรรยากาศของกรุงเทพฯ โดยเฉพาะย่านท่าช้างซึ่งเป็นย่านที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ ย่านเสาชิงช้า และชุมชนแขกเลี้ยงวัว อีกทั้งยังมีเนื้อหาที่ว่าด้วยการตีพิมพ์พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ที่กว่าจะได้ตีพิมพ์ครั้งแรกก็ต้องรอถึง พ.ศ. 2477 โดยความล่าช้าในการตีพิมพ์นั้น นอกจากจะเป็นเพราะความขัดข้องด้านเนื้อหาแล้ว ยังเกี่ยวของกับประเด็นทางการเมืองของชนชั้นนำอีกด้วย. 
730 
a ศิลปวัฒนธรรม. 
Collection 
หนังสือภาษาไทย 
999 
ห้องคลังความรู้ NDMI. 
No Reviews
There are no reviews yet, why not be the first.

Please Login before write a review.

This website uses cookies

We use cookies to optimize performance. and good experience in using the website If you continue to use this website By accepting the terms and conditions and privacy policy