• |
  • |
  • |

Main Menu | | Museum of Siam Publication

  • View :
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Jul 04, 2016
ถ่ายทอดมุมมองสองแบบที่ยึดหลักความสำคัญ ด้านชาติพันธุ์และมุมมองที่ยึดแนวคิดว่า คนอื่นแตกต่างๆ จากผู้อยู่อาศัยในหมู่บ้านลีซอ(บ้านสามกุลา) ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย ในภาคเหนือของประเทศไทย ประหลาดใจที่เห็นวัสดุแปลก ที่จัดวางในหมู่บ้าน พวกเขาแต่งชุดสีสันบาดตา จากภาพถ่าย หนังสือเล่มนี้เป็น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทั้งเล่ม
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Jul 04, 2016
เป็นการรวมตัวกันพิพิธภัณฑ์ในภาคใต้ โดยสถาบัน เชื่อมั่นว่าการจัดกิจกรรมลักษณะนี้ จะก่อให้เกิดเครือข่ายที่มีความเข้มแข็ง ทั้งในด้านบริหารจัดการ และการเผยแพร่องค์ความรู้ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อสังคมแห่งการเรียนรู้ของไทย
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ และ บริซติซ เคาน์ซิล
Publishing Date : Oct 10, 2024
เนื้อหามาจากการประมวลแลสรุปประเด็นสำคัญจากการบรรยายของวิทยากรในวงเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ เมื่อวันที่ 29-30 เมษายน 2567 ข้อเขียนจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้บริหารหน่วยงาน ผู้ปฏิบัติงานเพื่อออกแบบโครงการเพื่อผู้สูงวัย แหล่งทุนที่ส่งเสริมสภาวะผู้สูงวัยในสังคมไทย และผู้สนใจงานสูงวัยอย่างสร้างสรรค์
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Jul 04, 2016
ค้นหาความหมายที่ซ่อนอยู่ใน “หมวก” สิ่งประดิษฐ์ที่มาพร้อมกับ เรื่องหนักหัว ด้วยเหตุที่ศีรษะ เป็นส่วนสำคัญที่สุดของร่างกาย หมวก บางแบบอาจสะท้อน แนวคิดภูมิจักรวาล บางแบบอาจแสดงถึงภูมิปัญญา ของคนในภูมิภาคร้อนชื้น บางแบบอาจเกี่ยวโยงกับอำนาจความศิวิไลซ์ และบางแบบอาจเป็นที่มาของการถกเถียงไม่จบสิ้น หนังสือเล่มนี้เป็น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทั้งเล่ม
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Jul 04, 2016
การพัฒนารูปแบบ เสริมสร้างความร่วมมือกับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นนำเสนอผลงานจัดแสดงสู่สาธารณชน เพื่อเผยแพร่ความรู้ สร้างสรรค์กิจกรรมต่างๆ ในการให้บริการแก่สังคมไทย โดย “จังหวัดลพบุรี” ถือเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางที่มีพิพิธภัณฑ์จำนวนมากกว่า 30 แห่ง ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Jul 04, 2016
เรื่องที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของ ไผ่ จากธรรมชาติที่เอามาแปรรูปเป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆหรือเรียกอีกอย่าง ปัจจัย 4 ทั้งความเป็นมา มาจากที่ไหน ทำมาใช้เป็นดนตรี และคนไทย ไผ่กับปัจจัยทั้ง 4 ฯลฯ ล้วนแต่เป็นประโยชน์ของไผ่ทั้งนั้น
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Oct 05, 2017
รวมเรื่องราว ความเชื่อเรื่องคาถาอาคม และเครื่องรางของขลัง ที่เป็นมรดกภูมิปัญญาของมนุษย์ยุตโบราณ ที่สืบทอดกันต่อๆ มาผู้คนในอาณาจักรโบราณของดินแดนสุวรรณภูมิเช่นกัน ความเชื่อ ลัทธิ ศาสนา จากประเทศต่างๆ วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับเวทมนตร์คาถา และเครื่องรางของขลัง โดยเฉพาะพระภิกษุเป็นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเรื่องเลขยันต์ จัดทำเพื่อให้ผู้คนที่สนใจ หรือประชาชนทั่วไปได้รู้เรื่องราวเหล่านี้ให้เข้าใจมากขึ้น
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Nov 11, 2015
จัดขึ้นด้วยความตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เมื่อประชาคมอาเซียนจะเข้ามาสู่ประชาคมไทยในอนาคตอันใกล้ เมื่อความแตกต่างอยู่รอบตัว เมื่อต้องสัมพันธ์กับคนอื่น จำเป็นอย่างยิ่ง ที่เราต้องตระหนัก และเรียนรู้ในความแตกต่างนั้นอย่างเปิดใจ เรื่องเสียงจากประเทศในอาเซียน จะก่อให้เกิดการเรียนรู้ ความเชื่อมโยงระหว่างตัวเรา และคนอื่น ได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Jul 05, 2016
เส้นทางไดโนเสาร์ในประเทศไทย ทั้งประเภทกินพืชและกินเนื้อ และหาคำตอบว่าเหตุใดไดโนเสาร์จึงสูญพันธุ์ และในประเทศไทยมีไดโนเสาร์พันธุ์อะไรบ้าง หนังสือเล่มนี้เป็น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทั้งเล่ม
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Jul 04, 2016
เรื่องราวเกี่ยวกับสยามกับโปรตุเกส การเดินทางสำรวจโลก, เส้นทางการเดินเรือของชาวโปรตุเกสกับสยาม รวมทั้งเกมต่างๆและภาพประกอบทั้งเล่ม
Author : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
Publishing Date : Jul 05, 2016
ครั้งนี้เป็นการรวมตัวกันของพิพิธภัณฑ์ ในภาคใต้โดยสถาบันฯ เชื่อมั่นว่าการจัดกิจกรรมลักษณะนี้ จะก่อให้เกิดเครือข่าย ที่มีความเข็มแข็ง ทั้งในด้านการบริหารจัดการ และเผยแพร่องค์ความรู้ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อสังคม แห่งการเรียนรู้ของไทย
Author : วิศุทธ์ อุ่มบางตลาด และคณะ
Publishing Date : Jul 09, 2018
ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อมิวเซียมสยาม เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อมิวเซียมสยาม และเพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่เข้าชมมิวเซียมสยาม อีกทั้งยังหาแนวทางในการแก้ไขและปรับปรุง เพื่อทำให้มิวเซียมสยามมีความน่าสนใจและดึงดูดนักท่องเที่ยวเพื่อให้เข้าชมมากขึ้น โดยผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลและนำไปวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการทางสถิติ
 

This website uses cookies

We use cookies to optimize performance. and good experience in using the website If you continue to use this website By accepting the terms and conditions and privacy policy